ปี 2530
• คุณภาพน้ำในอ่างเก็บน้ำ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ปี 2531
• การพัฒนาโปรแกรมแปลงค่ากำลังอัดคอนกรีตระหว่าง cube และ cylinder
• ความสัมพันธ์ระหว่างกำลังอัดคอนกรีตแท่งลูกบาศก์ (Cube) และแท่งทรงกระบอก (Cylinder) • ความสัมพันธ์ระหว่างกำลังอัดคอนกรีตและอายุคอนกรีต
ปี 2532 • Problems and Control of Aquatic Weeds in the Irrigation Systems of Thailand
ปี 2533 • รายงานการศึกษาผลกระทบของน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมต่อคุณภาพน้ำในลำน้ำพอง เขตโครงการหนองหวาย จ.ขอนแก่น
ปี 2534 • การทดลองเปรียบเทียบกรรมวิธีการปรับปรุงดินเปรี้ยวที่มีต่อเศรษฐกิจการทำนา และการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติทางเคมี • การศึกษาคุณภาพของดิน ในเขตชลประทานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
• การศึกษาการใช้แผ่นใยสังเคราะห์ Geotextile เป็นวัสดุกรองในเขื่อนดินที่สร้างด้วยดินกระจายตัว
• การศึกษาคุณภาพน้ำของแหล่งน้ำผิวดินในประเทศไทย
• การศึกษาปัญหาคุณภาพน้ำของแหล่งน้ำบาดาลเพื่อการชลประทาน
• การศึกษาผลของสภาพแวดล้อมต่อคุณภาพน้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ ปี 2535 • การวิเคราะห์วิจัยคุณภาพน้ำรอบทะเลสาบสงขลา พ.ศ. 2521-พ.ศ. 2534
• การศึกษาทางชีววิทยาและนิเวศวิทยาของกกช้าง
• การศึกษาวิธีการหาค่าการนำไฟฟ้าในสารละลายดินบริเวณลุ่มน้ำเสียว
ปี 2536 • การควบคุมจอกหูหนู (Salvinia cucullata) ด้วยสารกำจัดวัชพืช
• การควบคุมปัญหาวัชพืชในอ่างเก็บน้ำ
• การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมโครงการเขื่อนทดน้ำบางปะกง (2536)
• การศึกษาแหล่งต้นน้ำและคุณภาพน้ำของอ่างบางพระที่มีผลต่อการเจริญของสาหร่ายสีน้ำเงินแกมเขียว • การศึกษาเวลามาถึงของน้ำ
• การศึกษาวิเคราะห์และวิจัยความสกปรกของน้ำในทางน้ำชลประทานภาคกลาง และภาคตะวันออก พ.ศ. 2536 ปี 2537 • โครงการศึกษาปรับปรุงปากแม่น้ำโก-ลก การศึกษาแบบจำลองชลศาสตร์ ของปากแม่น้ำและบริเวณชายฝั่ง • การแก้ปัญหาวัชพืชทดแทนหลังการกำจัดไมยราบยักษ์ในทางน้ำชลประทาน
• การศึกษาการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำเนื่องจากการระบายน้ำของสนามกอล์ฟ พ.ศ. 2537
• การศึกษาการส่งน้ำแบบไม่สม่ำเสมอ (UNSTEADY FLOW) โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ • การศึกษาการป้องกันชายฝั่งไทยในโครงการปรับปรุงปากแม่น้ำโก-ลก ปี 2538 • การใช้สารกำจัดวัชพืชและข้อเสนอแนะในการควบคุมไมยราบยักษ์
• การประเมินการใช้สารกำจัดวัชพืช และการศึกษาการแพร่ระบาด ของวัชพืชน้ำในอ่างเก็บน้ำห้วยบังพวน จังหวัดหนองคาย • การศึกษาการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำอ่างเก็บน้ำทับเสลา พ.ศ. 2536-2538
• การศึกษาวิจัยโครงการศึกษาการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำเนื่องจากการใช้ที่ดินทำนา
• โครงการศึกษาหาความสัมพันธ์ของผลการทดสอบ TRIAXIAL TEST ที่มีขนาดแตกต่างกัน (CU TEST) ปี 2539 • การปรับปรุงและแก้ไขดินเค็มในพื้นที่ชลประทานภาคกลางและภาคตะวันตกของประเทศไทย • การแพร่กระจายและโทษของผักตบชวาหน้าประตูน้ำในเขต สชป.7 และ สชป.8
• การศึกษาชีววิทยาและนิเวศวิทยาของวัชพืชใต้น้ำในระบบชลประทาน
• การศึกษาฝายสันกว้างรูปตัววี
• การวิเคราะห์วิจัยคุณภาพน้ำรอบทะเลสาบสงขลา พ.ศ. 2535-2539
• การศึกษาคุณภาพน้ำแม่น้ำเจ้าพระยา (2537-2539)
• การศึกษาคุณภาพน้ำอ่างเก็บน้ำห้วยตะแปด และอ่างเก็บน้ำห้วยทราย
• การศึกษาคุณภาพน้ำชลประทานในเขตพื้นที่ดินเค็ม (2538-2539)
• รายงานการศึกษาคุณภาพน้ำแม่น้ำป่าสัก โครงการเขื่อนเก็บกักน้ำแม่น้ำป่าสักระหว่างการก่อสร้าง (กรกฎาคม 2538-มิถุนายน 2539) • โครงการวิจัยการทดสอบ TRIAXIAL ระบบอัตโนมัติ
• วัชพืชบริเวณอ่างเก็บน้ำโครงการชลประทานในท้องที่ภาคเหนือของประเทศไทย
• หลักการพิจารณาใช้ปูนซีเมนต์ผสมแทนปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1 ปี 2540 • การศึกษาการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำสระเก็บน้ำพระราม 9 พ.ศ. 2538-2540
• การศึกษาคุณภาพน้ำใต้ดิน โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาท่าโบสถ์ (พ.ศ. 2535-2538)
• การศึกษาคุณภาพน้ำใต้ดิน โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 2 (ทุ่งระโนด) พ.ศ. 2535-2539 • การศึกษาคุณภาพน้ำแม่น้ำป่าสัก โครงการเขื่อนเก็บกักน้ำแม่น้ำป่าสักระหว่างการก่อสร้าง (ครั้งที่ 2) (กรกฎาคม 2539-มิถุนายน 2540) • การศึกษาเปรียบเทียบการวิเคราะห์ค่าความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวก ของดินในเขตชลประทานในประเทศไทย • โครงการศึกษาหาความสัมพันธ์ของผลการทดสอบ DIRECT SHEAR TEST และ TRIAXIAL TEST
• โครงการศึกษาหาความสัมพันธ์ของผลการทดสอบระหว่าง CALIFORNIA BEARING RATIO กับชนิดของดิน (เฉพาะกลุ่ม CL) • เทคนิคการใช้ Piper Trilinear diagram ในการจำแนกคุณลักษณะทางเคมีของน้ำใต้ดิน ปี 2541 • การเกิดดินกระจายตัวในจังหวัดลำปางและแนวทางในการปรับปรุงดินกระจายตัว
• การปรับปรุงดินทรายโดยใช้วัสดุเหลือทิ้งจากการเกษตรเพื่อเพิ่มผลผลิตพืชไร่
• การศึกษาทดลองแบบจำลองทางชลศาสตร์ของอาคารระบายน้ำล้นเขื่อนแควน้อย
• การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมด้านคุณภาพน้ำ โครงการเขื่อนเก็บกักน้ำแม่น้ำป่าสัก ระหว่างการก่อสร้าง กรกฎาคม 2538-มิถุนายน 2541 • การศึกษาวิเคราะห์การระบายน้ำโครงการแก้มลิง (ชั่วคราว) คลองมหาชัย-คลองสนามชัย จังหวัดสมุทรสาครอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ปี 2541 • การศึกษาหาค่าความสัมพันธ์ของ C.B.R. ที่ความหนาแน่นของดินแตกต่างกันเฉพาะกลุ่ม “CL”
• การเปรียบเทียบกำลังอัดของคอนกรีตเมื่อเพิ่ม Workability โดยการเติมน้ำและซีเมนต์ที่อัตราส่วนน้ำต่อซีเมนต์คงที่ • บิทูเมนมีผลต่อคุณสมบัติของดินทรายในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
• ลักษณะและปัจจัยที่มีผลต่อความอุดมสมบูรณ์ของแหล่งน้ำในอ่างเก็บน้ำลำตะคอง
ปี 2542 • การใช้หินพัมมิชเป็นสารปรับปรุงดินเพื่อการเพาะปลูก
• การพัฒนาโปรแกรมออกแบบอัตราส่วนผสมคอนกรีต
• การศึกษาคุณภาพน้ำของอ่างเก็บน้ำในเขตโครงการชลประทานชลบุรี
• การศึกษาผลกระทบของปริมาณเกลือโซเดียมคลอไรด์ (NaCI) และเกลือแคลเซียมซัลเฟต (CaSO4) ต่อการเจริญเติบโตของหอมแดง (2542) • การศึกษาหาค่า COHESION และ ANGLE OF INTERNAL FRICTION ของดินเฉพาะกลุ่ม “CL” โดยวิธี TRIAXIAL TEST และ DIRECT SHEAR TEST • การศึกษาอาคารสลายพลังงานของทางระบายน้ำล้น รางเทหรืออาคารน้ำตก
• ผลกระทบของการเติมปูนและการชะล้างที่มีต่อปริมาณกำมะถันในดินกรด
• อิทธิพลของอินทรียวัสดุเหลือใช้จากโรงงานผลิตกรดซิตริกต่อคุณสมบัติของดิน และการเจริญเติบโตของพืช • อิทธิพลของอินทรียวัสดุเหลือใช้ที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงของไนโตรเจนในดินนา ปี 2543 • การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าความอุดมสมบูรณ์มากเกินไปของแหล่งน้ำ
• การควบคุมความข้นเหลวของคอนกรีตสด โดยใส่สารผสมเพิ่มก่อนเทลงแบบ
• การควบคุมวัชพืชใต้น้ำในฤดูหยุดส่งน้ำด้วยสารกำจัดวัชพืช
• การปรับปรุงแก้ไขดินกระจายตัวด้วยปูนไลม์เพื่อใช้ในการก่อสร้างทำนบดิน โครงการพัฒนาลุ่มน้ำลำพะยังตอนบน (อันเนื่องมาจากพระราชดำริ) • การปรับปรุงแก้ไขดินกระจายตัวด้วยปูนไลม์เพื่อใช้ในการก่อสร้างทำนบดินโครงการห้วยสังเคียบ
• การศึกษาประสิทธิภาพและขั้นตอนการปฏิบัติงานการแก้ไขดินกระจายตัวของปูนขาวและสารส้มน้ำ
• การศึกษาวิจัยผลของสารสกัดจากสาหร่ายไฟ และแห้วทรงกระเทียม ที่ยับยั้งการเจริญเติบโตของวัชพืชน้ำบางชนิด • การหาค่าพารามิเตอร์ที่ใช้สำหรับการหาค่า Tangential modulus และ Tangential poisson’s Ratio ของดินที่มีความเชื่อมแน่น • คุณสมบัติของคอนกรีตผสมเถ้าลอยสภาพสด
• การศึกษาผลกระทบของการสร้างเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ที่มีต่อคุณภาพน้ำในแม่น้ำป่าสัก
• การศึกษาคุณภาพน้ำบางประการและการลอยตัวของสาหร่าย Microcystis aeruginosa (2542-2543)
• การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมเรื่องอุทกวิทยาน้ำใต้ดินและคุณภาพน้ำใต้ดิน และการรุกตัวของน้ำเค็ม โครงการปรับปรุงปากแม่น้ำโก-ลก จังหวัดนราธิวาส ระหว่างการก่อสร้าง • อิทธิพลของปูนขาวที่มีต่อปริมาณดินเหนียวและคุณสมบัติทางด้านวิศวกรรม ของดินกระจายตัวที่ปรับปรุงด้วยปูนขาว ปี 2544 • การใช้เถ้าลอยซับบิทูมินัสและแอนทราไซต์ในการปรับปรุงดินกระจายตัว
• การใช้ผงฝุ่นหินอ่อนจากโรงงานหินอ่อนเพื่อปรับปรุงดินกรดจัดในเขตพื้นที่ชลประทาน
• การปรับปรุงคุณสมบัติทางฟิสิกส์ของดินในเขตโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษากำแพงแสน จ.นครปฐม โดยใช้วัสดุที่เหลือจากการเพาะเห็ดเพื่อเพิ่มผลผลิตพืชไร่ • การศึกษาการควบคุมวัชพืชน้ำในระบบชลประทานโดยชีววิธี
• การศึกษาแนวโน้มของการเกิดปรากฏการณ์สาหร่ายออ (Microcystis sp.) ในอ่างเก็บน้ำห้วยสะกาด จ.นครราชสีมา • การศึกษาวิจัยระบบขับไล่ตะกอนทราย
• การศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่าง C.B.R. แบบแช่น้ำกับแบบไม่แช่น้ำ ของดินประเภทที่มีความเชื่อมแน่น • ความสัมพันธ์ระหว่างกำลังอัดและอายุของคอนกรีตเจาะ
• ศึกษาการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนองค์ประกอบหลักทางเคมีของน้ำใต้ดิน ในพื้นที่โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาโพธิ์พระยา จังหวัดสุพรรณบุรี โดยใช้ Piper Trilinear diagram • โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมโครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ปี 2545 • การควบคุมกำจัดบัวหลวงในแหล่งน้ำชลประทานด้วยสารกำจัดวัชพืช
• การใช้กากตะกอนจากระบบบำบัดน้ำเสียของโรงงานผลิตถุงมือยางเพื่อทดแทนปุ๋ยเคมี • การปรับปรุงดินกระจายตัวด้วยเถ้าจากเตาเผาขยะของกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้ก่อสร้างเขื่อนดิน
• การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำชลประทานโดยใช้วัสดุเหลือทิ้งจากการปลูกอ้อย ในดินของโครงการชลประทานบางเลน จ.นครปฐม • การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำในคลองชลประทานที่มีวัชพืชน้ำและมีสารอินทรีย์ปนเปื้อน เพื่อเพิ่มผลผลิตหอม กระชายและข้าวโพดในเขตโครงการชลประทานนครปฐม จ.นครปฐม • การศึกษา Anabaena sp. ในแหล่งน้ำเสีย และการใช้สารกำจัดสาหร่ายควบคุม (Anabaena sp. In Waste Water and Algicide Control) • การศึกษาการใช้ขี้เถ้าของโรงงานอุตสาหกรรมปูนขาวในการปรับปรุงดินกรดในเขตชลประทาน
• การศึกษาการใช้วัชพืชโผล่พ้นน้ำปรับปรุงคุณภาพน้ำ • การศึกษาการเพิ่มผลผลิตข้าวพันธุ์ กข.23 ในเขตพื้นที่โครงการชลประทานลำพะยังตอนบน (อันเนื่องมาจากพระราชดำริ) • การศึกษาเปรียบเทียบคุณสมบัติของเถ้าถ่านหินในประเทศไทยเมื่อใช้เป็นวัสดุปอซโซลาน
• การใช้เถ้าแกลบดำจากโรงไฟฟ้าพลังแกลบและตะกอนดินจากกระบวนการปรับคุณภาพน้ำ ในการบำบัดน้ำทิ้งชุมชนของกรุงเทพมหานคร • การประเมินคุณภาพน้ำในอ่างเก็บน้ำห้วยสงสัยโดยวิธีเคมีวิเคราะห์และสาหร่ายวิเคราะห์
• การศึกษาคุณภาพน้ำบริเวณแม่น้ำบางปะกงภายหลังจากการก่อสร้างเขื่อน (พ.ศ. 2543-พ.ศ. 2545)
• การศึกษาชนิดและปริมาณแพลงก์ตอนพืชในอ่างเก็บน้ำห้วยสะกาด จังหวัดนครราชสีมา
• การศึกษาประสิทธิภาพของระบบบำบัดน้ำเสียโรงพยาบาลชลประทาน อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี
• การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม เรื่องอุทกวิทยาน้ำใต้ดิน และคุณภาพน้ำใต้ดินและการรุกตัวของน้ำเค็ม โครงการปรับปรุงปากแม่น้ำโก-ลก ในช่วงขณะและหลังปรับปรุงปากแม่น้ำโก-ลก • แนวทางการใช้สาหร่ายเพาะเลี้ยงในการประเมินสภาพสารอาหารในน้ำ ของอ่างเก็บน้ำห้วยสงสัย จ.เพชรบุรี (2544-2545) ปี 2546 • การเกิดของดินกระจายตัวในจังหวัดกาญจนบุรีและนครสวรรค์
• การเจริญและแพร่ระบาดของสาหร่ายหางกระรอก และสาหร่ายเส้นด้ายในพื้นที่ชลประทาน • การใช้พืชลอยน้ำปรับปรุงคุณภาพน้ำ
• การปรับปรุงดินที่มีการขยายตัวหดตัวสูงโดยใช้สารเคมี เถ้าลอยเพื่อใช้ในการก่อสร้างถนน คลองส่งน้ำและเขื่อนดิน • การศึกษาการใช้กากแร่เหล็กหลอมเหลวเป็นมวลรวมหยาบทดแทนหินย่อย ในส่วนผสมคอนกรีตผสมเถ้าลอย • การศึกษาคุณภาพน้ำในเขตพระราชวังบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
• การศึกษาเพื่อใช้เถ้าแกลบดำจากโรงไฟฟ้าพลังแกลบและปูนขาวในการปรับปรุงดินกระจายตัว
• การศึกษาเปรียบเทียบคุณสมบัติของดินด้านวิทยาศาสตร์และดินด้านวิศวกรรม ของดินผสมปูนขาวและดินผสมสารส้มน้ำในการแก้ไขดินกระจายตัวสำหรับงานก่อสร้างเขื่อนดิน • การศึกษาและเปรียบเทียบคุณภาพน้ำในแต่ละฤดูกาล ของโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาพลายชุมพล • การศึกษาแบบจำลองชลศาสตร์ประตูบังคับน้ำแบบพับเก็บได้
• ศึกษาการจัดการสันตะวาใบพายในคลองส่งน้ำชลประทาน
• ข้อมูลทางสถิติของคุณสมบัติทางกลของเหล็กเส้นเสริมคอนกรีต ที่ใช้ในงานก่อสร้างโครงการชลประทาน • อิทธิพลของอายุการบ่มที่มีต่อกำลังอัดของมอร์ต้าร์ผสมเถ้าลอย
• การควบคุมกำจัดวัชพืชในคลองระบายน้ำด้วยสารกำจัดวัชพืช
ปี 2547 • การแก้ปัญหาน้ำขุ่นเนื่องจากอนุภาคคอลลอยด์ที่มีชีวิตโดยใช้สารเคมี
• การเกิดและองค์ประกอบทางแร่ของดินกระจายตัวบริเวณโครงการชลประทาน 6 แห่ง ในจังหวัดลพบุรีและการจัดการเพื่อใช้ในการก่อสร้างเขื่อนดินและคลองส่งน้ำ • การใช้พืชน้ำในการควบคุมการระบาดของสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน
• การพิจารณาออกแบบส่วนผสมคอนกรีตบดอัดที่เหมาะสม สำหรับภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย • การแพร่กระจายของดินกระจายตัวในพื้นที่ชลประทานในประเทศไทย
• การแพร่กระจายของดินเค็มและแนวทางในการปรับปรุงดินเค็มในเขตพื้นที่ชลประทานภาคกลาง
• การรุกตัวของน้ำเค็มในแม่น้ำเจ้าพระยา (กันยายน 2546-สิงหาคม 2547)
• การศึกษาแบบจำลองชลศาสตร์ประตูระบายน้ำคลองลัดโพธิ์โครงการปรับปรุงคลองลัดโพธิ์ จังหวัดสมุทรปราการ กรณีศึกษาแนวทางการควบคุมประตูระบายน้ำคลองลัดโพธิ์ • การศึกษาเพื่อพัฒนาวัสดุที่มีความเหมาะสมในงานก่อสร้างโดยการใช้ทรายผสมเบนโทไนท์ • ผลของสารสกัดจากธูปฤาษี (Typha sp.) และแหนเป็ดเล็ก (Lemna sp.) ต่อการเจริญเติบโตของสาหร่ายชั้นต่ำในพื้นที่ชลประทาน • วิธีการทางคอมพิวเตอร์เพื่อคำนวณการไหลของน้ำแบบไม่คงที่ในทางน้ำเปิด ปี 2548 • การแก้ไขปัญหาน้ำขุ่นที่เกิดจากตะกอนดินเหนียวในแหล่งน้ำชลประทาน จังหวัดสระแก้ว • การควบคุมผักตบชวาในแหล่งน้ำชลประทานโดยใช้แมลงร่วมกับเชื้อสาเหตุโรคพืช
• การควบคุมสาหร่ายชนิด Microcystis aeruginosa โดยใช้สารกำจัดสาหร่าย
• การใช้ขี้เถ้าแกลบร่วมกับไคลน็อพติโลไลท์แก้ไขดินทรายของโครงการชลประทานชุมพร
• การศึกษาคุณภาพน้ำก่อน-หลังสร้างเขื่อนคลองท่าด่าน
• การศึกษาทางชีววิทยาและการแพร่ระบาดของกกช้าง ในระบบชลประทาน
• การศึกษาแบบจำลองชลศาสตร์ฝายหนองสลีก จ.ลำพูน กรณีศึกษาการปรับปรุงอาคารสลายพลังงานด้านท้ายภายหลังการลดสันฝายและติดตั้งฝายยาง • การศึกษาฝายทดน้ำแบบขั้นบันไดและการจัดการตะกอนในลำน้ำเชิงเขา : กรณีศึกษาลุ่มน้ำบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ • การศึกษาฝายทดน้ำแบบขั้นบันไดและการจัดการตะกอนในลำน้ำเชิงเขา : กรณีศึกษาลุ่มน้ำบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โครงการวิจัยที่ 1 : การประเมินการชะล้างพังทลายของดิน บริเวณลุ่มน้ำบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ • ข้อมูลสถิติผลการทดสอบคุณสมบัติของแผ่นใยสังเคราะห์ของโครงการก่อสร้างกรมชลประทาน
• ผลของแสงที่มีต่อการงอกและการเจริญเติบโตของสันตะวาใบพาย
• การศึกษาเพื่อใช้คอนกรีตที่รื้อจากอาคารเป็นมวลรวมหยาบทดแทนหินย่อย ปี 2549 • การควบคุมกำจัดธูปฤาษี (Typha sp.) ในพื้นที่ชลประทาน
• การเจริญเติบโต การแพร่กระจาย และแนวทางการควบคุมดีปลีน้ำในคลองส่งน้ำชลประทาน
• การใช้ค่าเปอร์เซ็นต์ความชื้นที่จุดอิ่มตัวด้วยน้ำ ประมาณค่าความชื้นที่สนาม และเนื้อดินในเขตพื้นที่ชลประทาน • การศึกษาคุณสมบัติด้านกำลังและความซึมน้ำของแอสฟัลต์ผสมผงยาง • การศึกษาแบบจำลองชลศาสตร์ของแก่งเทียมในโครงการเขื่อนแควน้อย • การศึกษาแบบจำลองชลศาสตร์ของอาคารระบายน้ำล้นทางระบายน้ำฉุกเฉิน และท่อระบายน้ำ ของเขื่อนเก็บกักน้ำป่าสัก • การศึกษาเพื่อใช้ทรายแม่น้ำทดแทนออตตาวาในการทดสอบกำลังอัดของมอร์ต้าร์
• การออกแบบและพัฒนาเครื่องมือทดสอบกำลังรับแรงเฉือนของดินในสนาม เพื่อประเมินค่าความสามารถในการรับน้ำหนักบรรทุกของดินสำหรับงานก่อสร้างอาคารชลประทาน • ความต้านทานซัลเฟตของปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภท 1 ผสมเถ้าลอยปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภท 1 และปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภท 5 • ความสัมพันธ์ระหว่างชนิดและปริมาณของแพลงก์ตอนพืชกับแพลงก์ตอนสัตว์ บริเวณปากแม่น้ำแม่กลอง จังหวัดสมุทรสงคราม • นิเวศวิทยาและการใช้ประโยชน์ของ Duckweed Ecology and Utilization of Duckweed
ปี 2550 • การงอกของเมล็ดดีปลีน้ำภายใต้อิทธิพลของแสง 218 • การศึกษาการสอบเทียบประตูระบายน้ำคลองลัดโพธิ์ จังหวัดสมุทรปราการ
• การศึกษาเพื่อใช้แอสฟัลต์ผสมผงยางในงานดาดคลองชลประทาน
• การออกแบบและพัฒนาเครื่องมือทดสอบความซึมน้ำของดินในสนาม สำหรับการก่อสร้างอาคารชลประทาน • ข้อมูลทางสถิติเพื่อประเมินหาค่าอัตราส่วนของน้ำต่อซีเมนต์ (W/C)
• โครงการจัดทำอาคารวัดปริมาณน้ำ Vidhaya pitot tube
• วัสดุคลุมดินชนิดต่าง ๆ ที่มีต่อการใช้น้ำของพืช รวมบทคัดย่อ ผลงานวิจัย สำนักวิจัยและพัฒนา กรมชลประทาน ปี 2551 • ปัญหาการระบาดของวัชพืชน้ำในเขตชลประทานและการจัดการ
- การศึกษาวิจัยผลผลิตขั้นปฐมภูมิของแหล่งน้ำและระบบนิเวศบริเวณพื้นที่โครงการเขื่อนแควน้อย จังหวัดพิษณุโลก - การติดตามสภาวะยูโทรพีเคชันในอ่างเก็บน้ำบางพระ จังหวัดชลบุรี - การควบคุมกำจัดไมยราบยักษ์ในอ่างเก็บน้ำห้วยลิ้นควาย จังหวัดเลย - ศักยภาพของสารกำจัดสาหร่ายต่อสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
- การจัดการผักตบชวา (Eichhornia crassipes) ในอ่างเก็บน้ำห้วยแห้ว อำเภอเมือง จังหวัดเลย - สัณฐานวิทยาและสรีรวิทยาเมล็ดพันธุ์วัชพืชที่แพร่ระบาดรุนแรง ในพื้นที่ชลประทานและแนวทางควบคุม - การประเมินสถานภาพคุณภาพน้ำและความหลากหลายของแพลงก์ตอนในอ่างเก็บน้ำมาบประชัน 237 จังหวัดชลบุรี - การศึกษาศักยภาพและผลกระทบของวิธีการควบคุมกำจัดวัชพืชร้ายแรงในระบบชลประทาน
• การประยุกต์ใช้โปรแกรม Microsoft Access 2002 เพื่อเก็บข้อมูลและวิเคราะห์งานทดสอบ ของกลุ่มงานคอนกรีตและวัสดุ • การปรับปรุงคุณภาพน้ำที่มีสภาพเป็นกรดโดยใช้ถ่านไม้
• การศึกษาคุณสมบัติด้านกำลังรับแรง ความซึมน้ำ และ CBR ของดินลูกรังผสมปูนซีเมนต์ และการนำดินลูกรังผสมปูนซีเมนต์ไปใช้ในงานก่อสร้างถนนของโครงการชลประทาน - การศึกษาคุณสมบัติด้านกำลังแรงความซึมน้ำ และ CBR ของดินลูกรังผสมปูนซีเมนต์สำหรับงานถนน - การปรับปรุงดินร่วนที่มีความซึมน้ำสูง ให้มีกำลังรับแรงต้านทาน และความซึมน้ำที่เหมาะสมสำหรับการสร้างเขื่อน • การลดความขุ่นของน้ำที่เกิดจากตะกอนดินเหนียวที่กระจายตัวในแหล่งน้ำแบบยั่งยืน :กรณีศึกษาในแหล่งน้ำชลประทาน จังหวัดสระแก้ว - การป้องกันการชะล้างตะกอนดินกระจายตัวภายในสระ และบริเวณพื้นที่ขอบสระ
- การลดความขุ่นของน้ำในสระโดยการใช้สารเคมีและการปลูกพืชน้ำ
• การพัฒนาเครื่องวัดความชื้นในดินทดแทนการนำเข้าจากต่างประเทศเพื่อจัดการดินและน้ำชลประทานในดินทรายอย่างมีประสิทธิภาพ • การพัฒนาโปรแกรมออกแบบวัสดุกรองในงานชลประทาน
• การศึกษาการคำนวณการไหลของน้ำแบบไม่คงที่ในโปรแกรม HEC-RAS และการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์คำนวณการไหลของน้ำแบบไม่คงที่ในทางน้ำเปิด • กำลังรับแรงต้านทานแนวแกนแบบไม่มีแรงดันรอบด้านของดินลูกรังผสมปูนซีเมนต์ สำหรับชั้นพื้นที่ทางในงานทำถนน • โครงการศึกษาประสิทธิภาพการระบายน้ำในคลองลัดโพธิ์ และแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณใกล้เคียง ภายหลังการก่อสร้างโครงการปรับปรุงคลองลัดโพธิ์ • โครงการการศึกษาสร้างฝายที่ก่อสร้างโดยใช้กล่องยางบรรจุดิน
• โครงการนำร่องในการปรับปรุงคุณภาพน้ำในคลองระบายน้ำโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาราชบุรีฝั่งซ้าย
• โครงการปรับปรุงคุณสมบัติวัสดุ เพื่อแก้ไขปัญหาการรั่วซึมของคลองส่งน้ำดาดคอนกรีต
• โครงการพัฒนาเครื่องดาดคอนกรีตแบบอัตโนมัติ
• ศึกษาผลตกค้างของธาตุอาหารหลัก (N, P, K) ในดินตะกอนและน้ำบริเวณคลองส่งน้ำชลประทาน
• โครงการจัดทำแบบจำลองชลศาสตร์ของแม่น้ำท่าจีนเพื่อใช้ในการตรวจสอบ และแก้ปัญหาอุทกภัยอย่างเป็นระบบ • โครงการจัดทำประตูอัดน้ำกลางคลองแบบปรับปานอัตโนมัติ RADA Gate
• โครงการจัดทำฝายที่มีประสิทธิภาพในการระบายน้ำและตะกอนทราย เพื่อการส่งน้ำชลประทานได้อย่างมีประสิทธิภาพ • โครงการจัดทำเรือเก็บวัชพืชน้ำในคลองชลประทาน
ปี 2552 • การนำวัชพืชน้ำมาผลิตและปรับปรุงเป็นแผ่นวัสดุเพื่อเส้นใยเซลลูโลสจากแบคทีเรียใช้แทนหนังสัตว์ : ทางเลือกใหม่ในการควบคุมการแพร่ระบาดวัชพืชน้ำในพื้นที่ชลประทาน • การประเมินผลตกค้างของสารควบคุมสาหร่ายชั้นต่ำโดยใช้สัตว์พื้นท้องน้ำ ในอ่างเก็บน้ำบางพระจังหวัดชลบุรี • การประยุกต์ใช้โปรแกรม HEC-RAS ในการประมาณค่าการกัดเซาะที่สะพาน
• การศึกษาคุณภาพน้ำภายหลังงานก่อสร้างตามแผนปฏิบัติการเร่งด่วน บริเวณทำนบดินปิดกั้นลำน้ำเดิมของโครงการเขื่อนทดน้ำบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา • โครงการจัดทำเครื่องวัดความเร็วกระแสน้ำพร้อมเรือสำรวจน้ำ
• โครงการจัดทำเครื่องสูบน้ำด้วยพลังงานจากน้ำกรณี : เครื่องสูบน้ำพลังน้ำแบบขดท่อเกลียวทุ่นลอยปรินปั๊ม • โครงการออกแบบและก่อสร้างประตูควบคุมน้ำแบบปรับบานอัตโนมัติด้วยวัสดุไฟเบอร์กลาส (ประตูอัดน้ำกลางคลองแบบปรับบานอัตโนมัติไฟเบอร์กลาส RADA Gate Model II ) • โครงการจัดทำสถานีตรวจวัดคุณสมบัติของดินและน้ำแบบอัตโนมัติผ่านระบบไร้สาย
• โครงการพัฒนาการก่อสร้างฝายปรับระดับได้ด้วยกล่องยางบรรจุดิน
• โครงการพัฒนาเครื่องตรวจวัดข้อมูลอุทกศาสตร์ และชลศาสตร์ระยะไกล เพื่อใช้ในงานชลประทาน และบริหารจัดการน้ำกรณี : การจัดทำเครื่องวัดปริมาณน้ำฝนแบบไซฟอน (Syphoning Rain Gauge) • โครงการวางมาตรฐานระบบงานทดสอบด้านวิศวกรรม
• โครงการศึกษาความสัมพันธ์ของดินและน้ำในโครงการชลประทาน
• โครงการศึกษาและพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการวิเคราะห์คาบการเกิดซ้ำ การแก้ปัญหาสาหร่ายชั้นต่ำ การจัดการวัชพืชน้ำ การศึกษาสังคมพืช เพื่อการรักษาสมดุลของระบบนิเวศในอ่างเก็บน้ำลำคันฉู จ.ชัยภูมิ อย่างยั่งยืน - ปัญหาการระบาดของสาหร่ายชั้นต่ำ (microphyte) และการรักษาคุณภาพน้ำทางชีวภาพ อย่างเหมาะสมในอ่างเก็บน้ำลำคันฉู จังหวัดชัยภูมิ - ปัญหาการระบาดของวัชพืชน้ำ (macrophyte) และการจัดการที่ถูกต้อง เพื่อรักษาสมดุลทางระบบนิเวศ อ่างเก็บน้ำลำคันฉู จังหวัดชัยภูมิ • การแก้ไขหรือบรรเทาปัญหาน้ำเน่าเสียเนื่องจากสาหร่ายมีพิษเกิดการบลูมในอ่างเก็บน้ำห้วยสงสัยโดยเคมีบำบัดและบูรณาการวิธี • ผลของน้ำทิ้งจากการเลี้ยงกุ้งต่อคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำธรรมชาติ และการจัดการน้ำทิ้งของชุมชนบางแก้ว อำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา ปี 2553 • การติดตามการประเมินผลและการคัดเลือกวิธีการควบคุมกำจัดวัชพืชในพื้นที่ชลประทานอย่างเหมาะสมและปลอดภัยต่อสภาพแวดล้อม - วิธีการควบคุมกำจัดวัชพืชด้วยการใช้สารเคมีในพื้นที่ชลประทาน
- การติดตาม การประเมินผลการงอกของเมล็ดตกค้างในดิน การเจริญเติบโตขึ้นมาใหม่ และการแพร่กระจายของวัชพืชน้ำ หลังการใช้วิธีการควบคุมแบบต่าง ๆ - อิทธิพลของการพรางแสงในการควบคุมวัชพืชใต้น้ำบางชนิด - การประยุกต์ใช้แผ่นฟิล์มพลาสติกในการควบคุมวัชพืชใต้น้ำในคลองส่งน้ำชลประทาน
• การบริหารจัดการคุณภาพน้ำชลประทานเพื่อรักษาพื้นที่ชลประทานให้มีศักยภาพสูง ในการให้ผลผลิตทางการเกษตรโดยใช้ระบบโทรมาตร : กรณีศึกษาที่ I การปรับปรุงคุณสมบัติทางเคมีของน้ำชลประทานในคลองระบาย เพื่อติดตามและแก้ปัญหาการแพร่กระจายของดินด่าง ในเขตโครงการชลประทานกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม • การประเมินคุณภาพน้ำเพื่อการบริหารจัดการน้ำในเขตสำนักชลประทานที่ 8 ตั้งแต่ พ.ศ. 2547-2553
• การปรับปรุงคุณภาพน้ำโดยใช้จุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพแบบแห้งในคลองชลประทาน
• การพัฒนาเครื่องวัดการนำไฟฟ้าของน้ำและดินทดแทนการนำเข้าจากต่างประเทศเพื่อจัดการดินและน้ำชลประทานอย่างมีประสิทธิภาพ • การฟื้นฟูกำลังของคอนกรีตโครงสร้างที่มีรูโพรง เมื่อซ่อมด้วย Latex และ Nonshrink
• การสร้างเส้นโค้งแสดงความสัมพันธ์ระหว่างระดับน้ำและปริมาณน้ำ ด้วยวิธีดัชนีความเร็ว
• การศึกษาประสิทธิภาพการระบายน้ำของคลองท่าตะเภา ภายหลังการก่อสร้างประตูระบายน้ำท่าตะเภา จังหวัดชุมพร • โครงการจัดทำพัฒนา และขยายผลประตูอัดน้ำกลางคลอง แบบปรับบานอัตโนมัติ RADA Gate Model II • โครงการจัดทำระบบขับไล่ตะกอนทรายหน้าฝายทดน้ำและปากคลองระบายน้ำ
• โครงการวางมาตรฐานระบบงานทดสอบด้านวิศวกรรม ณ สำนักงานก่อสร้าง 1-14 สำนักโครงการขนาดใหญ่ • โครงการศึกษาวิจัยการนำพันธุ์ไม้ประจำถิ่นมาใช้เพื่อการฟื้นฟูสังคมพืชและรักษาสมดุลระบบนิเวศ อย่างยั่งยืนของแหล่งน้ำชลประทาน โครงการเขื่อนแควน้อยบำรุงแดน จังหวัดพิษณุโลก • โครงการจัดทำสถานีเฝ้าระวังคุณภาพน้ำโดยระบบโทรมาตร แบบทุ่นลอยในคลองสารภี จังหวัดปราจีนบุรี • สภาวะแวดล้อมชุมชนที่มีผลต่อการจัดการทรัพยากรน้ำในคลองสารภีและแม่น้ำปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี • อิทธิพลของปริมาณเกลือละลายชนิดต่างๆ ต่อสมบัติการกระจายตัวของดิน จากโครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่กองค่ายอันเนื่องมาจากพระราชดำริ • โครงการแบบจำลองกายภาพของประตูระบายน้ำและแม่น้ำปิง เพื่อใช้ในการตรวจสอบสถานการณ์น้ำและแก้ปัญหาน้ำท่วม • การศึกษาแบบจำลองชลศาสตร์ของฝายหยัก สำหรับการกำหนดมาตรฐานการออกแบบ
• การศึกษาถึงความเค็มของน้ำในอ่างเก็บน้ำบึงพุดซา จังหวัดนครราชสีมา • โครงการศึกษาความสัมพันธ์ของดินและน้ำในโครงการชลประทานกรณีศึกษา
- โครงการศึกษาความสัมพันธ์ของดินและน้ำในโครงการชลประทานกรณีศึกษา : โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาสุโขทัย - โครงการศึกษาความสัมพันธ์ของดินและน้ำในโครงการชลประทาน กรณีศึกษา : โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาสามชุก - โครงการศึกษาความสัมพันธ์ของดินและน้ำในโครงการชลประทาน กรณีศึกษา : โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาดอนเจดีย์ - โครงการศึกษาความสัมพันธ์ของดินและน้ำในโครงการชลประทาน กรณีศึกษา : โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาแม่ยม
• โครงการจัดทำฐานข้อมูลความสัมพันธ์ของดินและน้ำในพื้นที่โครงการส่งน้ำ และบำรุงรักษาพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี โดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ • การปรับปรุงระบบการจัดการสภาวะน้ำท่วมในลุ่มน้ำ โดยการบริหารอ่างเก็บน้ำที่เหมาะสมและการพยากรณ์เตือนภัย ณ เวลาจริง : กรณีศึกษาลุ่มน้ำท่าตะเภา จังหวัดชุมพร • การพัฒนาระบบโทรมาตรต้นทุนต่ำสำหรับโครงการชลประทานสามชุก
• การพัฒนาโทรมาตรวัดความเร็วกระแสน้ำในระยะไกลผ่านระบบ GPRS แบบอัตโนมัติ
• โครงการจัดทำเรือเก็บผักตบชวาขนาดเล็ก
• โครงการจัดทำถังบำบัดน้ำทิ้ง (น้ำเสีย) แบบไม่ใช้ออกซิเจน สำหรับชุมชนริมคลองชลประทาน
|